โครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา
งานวิจัยเรื่อง
ศิลปะการออกแบบเครื่องเล่นเพื่อจินตนาการ
ชุด เก้าอี้เพื่อจินตนาการ
:
มูลนิธิบ้านเฟื่องฟ้า
พ.ศ.
2555
ART
DESIGN PROJECT OF ANIMAL MODEL SURFACE : BAAN FUENGFAH
ชื่อผู้ทำวิจัย
นายวิเชษฐ์ ของครบ
รหัสประจำตัว
5311310790
สาขาวิชาศิลปกรรม
(ออกแบบประยุกต์ศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
.............................................
(.............................................)
คณบดีหรือรองคณบดีพิจารณาเห็นชอบ
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
.............................................
(.............................................)
ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษมประเภทนักศึกษา
ส่วน
ก :
ลักษณะทั่วไปของโครงการวิจัย
1.
ปีการศึกษาที่เสนอขอรับทุน
...............................
2.
ประเภทการวิจัย
(
) การวิจัยเชิงสำรวจ
(
) การวิจัยเชิงทดลอง
(
) การวิจัยและพัฒนา
3.
งบประมาณที่เสนอขอทุน
บาท
4.
ระยะเวลาในการทำวิจัย
1
ปี
ส่วน
ข :
รายละเอียดการทำวิจัย
1.
ชื่อโครงการวิจัย
ศิลปะการออกแบบเครื่องเล่นเพื่อจินตนาการ
ชุด เก้าอี้เพื่อจินตนาการ
:
มูลนิธิบ้านเฟื่องฟ้า
พ.ศ.
2555
ART
DESIGN PROJECT OF MIRACLE ANIMAL PLANET SHELF : BAAN FUENGFAH
2.
ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
ศิลปะเป็นภาษาสากลที่เชื่อมโยงการสื่อสาร
การรับรู้
ความเข้าใจแก่คนทุกเพศทุกวัยได้อย่างน่าทึ่งและมหัศจรรย์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเด็กพิเศษ
หรือ "เด็กที่มีความต้องการพิเศษ"
ที่จำเป็นต้องได้รับการดูแล
ช่วยเหลือเพิ่มเติมจากปกติ
และเป็นพิเศษทั้งในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน
การเรียนรู้ และการเข้าสังคม
ด้วยความน่าทึ่งและมหัศจรรย์ของงานศิลปะดังที่กล่าวข้างต้น
พบว่าเด็กกลุ่มพิเศษสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้อย่างน่าทึ่ง
เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท นานมี
จำกัด ได้ร่วมกับโรงเรียนเปรมฤดีศึกษา
ที่เปิดโอกาสให้น้องๆ
ที่เป็นเด็กพิเศษเรียนร่วมชั้นเรียนกับเพื่อนๆ
เด็กปกติ
จัดกิจกรรม "ศิลปะช่วยน้อง"
ซึ่งเป็นการนำเอาศิลปะมาช่วยเสริมสร้างพัฒนาการและจินตนาการให้แก่น้องๆ
เด็กพิเศษ
บริษัท นานมี จำกัดโดยคุณปรีญาณี
สุพุทธิพงศ์ รองกรรมการผู้จัดการ
ได้ กล่าวว่า
นานมีได้นำรูปภาพผลงานของเยาวชนไทยที่ส่งมาร่วมประกวดในโครงการฮอร์สอะวอร์ด
ชิงถ้วยพระราชทาน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
มาเป็นต้นแบบเพื่อจัดกิจกรรม
"ศิลปะช่วยน้อง"
โดยมีเป้าหมายจัดให้กลุ่มเด็กพิเศษได้มีโอกาสเรียนร่วมชั้นเรียนกับเด็กปกติ
โดยใช้งานศิลปะเป็นสื่อในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมด้วยกัน
ช่วยเหลือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
ปรากฏผลสัมฤทธิ์ได้อย่างน่าชื่นใจเป็นการฝึกให้เด็กปกติได้เรียนรู้การมีน้ำใจ
การแบ่งปัน
เป็นการเพิ่มทักษะและความชำนาญจากการที่ได้สอนเพื่อนกลุ่มเด็กพิเศษ
เหมือนได้ทบทวนความรู้ของตนเอง
แต่เกิดประโยชน์มหาศาลกับเด็กกลุ่มพิเศษ
ซึ่งนอกจากได้รับจากการเรียนรู้ด้านศิลปะแล้ว
พบว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นการนำศิลปะมาเป็นสื่อในการรับรู้และเข้าใจพฤติกรรมเพื่อหาแนวทางในการบำบัดรักษาอันจะช่วยให้เด็กกลุ่มพิเศษอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขไม่เกิดปัญหาสังคม
ไม่เป็นภาระต่อสังคมอันจะส่งผลต่อประเทศชาติ
คุณครูปริยา
สุตัณฑวิบูลย์ หรือคุณครูแคนดี้
เล่าว่า สังคมและครอบครัวต้องเข้าใจเด็กพิเศษ
ว่าน้องๆ
เหล่านี้อาจแสดงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์หลายอย่างซึ่งเป็นเรื่องปกติด้วยสภาพของอาการเจ็บป่วย
เช่น กรีดร้อง ก้าวร้าว
หรือบางคนเงียบ นิ่งเฉย
เก็บตัว ไม่กล้าแสดงออกเพราะคิดว่าตนเองไม่เหมือนคนอื่น
พ่อแม่และครอบครัวจำเป็นต้องเข้าใจและช่วยปรับพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ได้ด้วยศิลปะ
ซึ่งเป็นกิจกรรมง่ายๆ
แต่ช่วยเยียวยาและกระตุ้นน้องๆกลุ่มนี้ได้มาก
ทำให้พวกเขาปลดปล่อยพลังในตนเองและความก้าวร้าวต่างๆ
ออกมา รู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดที่สะสม
และเปิดตัวคือรู้จักเข้าสังคม
มีการพูดคุยกับเพื่อน คุณครู
ครอบครัว และคนรอบข้าง
"วิธีการง่ายๆ
ในการสอนศิลปะให้แก่เด็กพิเศษ
คือการสอนสิ่งรอบๆ ตัว
พูดคุยถึงเครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งของในชีวิตประจำวันโดยสร้างเป็นคำถามแบบปลายเปิด
เพื่อให้เด็กมีการตอบสนอง
เริ่มจากรูปทรงเรขาคณิตง่ายๆ
และการลากเส้นต่างๆ
เพื่อจะช่วยฝึกพัฒนาการเรื่องกล้ามเนื้อ
บางรายใช้แรงกดของการลงน้ำหนักของสีในการระบาย
เพราะมีความบกพร่องในการควบคุมกล้ามเนื้อมือ
ชอบกดสีแรงๆ
พยายามสอนเพื่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมอย่างค่อยเป็นค่อยไป"
คุณครูแคนดี้
เล่า (2
ตุลาคม
2555
จาก
http://www.komchadluek.net/detail/20120804/136812/ศิลปะช่วยสื่อเด็กพิเศษรู้เข้าใจ.html#.UGqY1r)
ศิลปะบําบัด
(art
therapy) คือ
การบําบัดรักษาทางจิตเวชรูปแบบหนึ่ง
ที่ประยุกต์ใช้กิจกรรมทาง
ศิลปะเพื่อค้นหาข้อบกพร่อง
การประเมินผลการบําบัดรักษาด้วยศิลปะบําบัด
เน้นที่ กระบวนการและกิจกรรมทางศิลปะ
ไม่ได้เน้นที่ผลงานหรือคุณค่าทางศิลปะ
(3
ตุลาคม
2555
จาก
http://www.happyhomeclinic.com/academy/alt02-arttherapy_artandscience.pdf)
ที่กล่าวมาข้างต้นจึงเป็นการยืนยันได้ว่า
ศิลปะเป็นภาษาสากลที่เชื่อมโยงการสื่อสาร
การรับรู้
ความเข้าใจแก่คนทุกเพศทุกวัยได้อย่างน่าทึ่งและมหัศจรรย์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเด็กพิเศษ
หรือ "เด็กที่มีความต้องการพิเศษ"
สำหรับสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพิการทางสมองและปัญญา
(บ้านเฟื่องฟ้า)
เป็นหน่วยงานของรัฐ
รับผิดชอบเลี้ยงดูอุปการะเด็กอ่อนพิการทุกประเภททั้งชายและหญิงตั้งแต่แรกเกิดถึง
7
ปี
จึงมีแนวคิดว่าการทำแบบจำลองพื้นผิวโดยออกแบบดีไซน์เป็นรูปสัตว์ที่มีสีสันสดใส
เพื่อมุ่งเน้นการนำศิลปะมาเป็นสื่อให้กลุ่มเด็กพิเศษเกิดความจรรโลงใจและยังช่วยกระตุ้นให้เด็กกลุ่มพิเศษมีความพัฒนาการด้านสมาธิ
ความจำ และการแก้ปัญหาในการแยกแยะรูปทรง
ไม่ว่าจะเป็นสามเหลี่ยม
สี่เหลี่ยม วงกลม
หรือจะเป็นรูปสัตว์ต่างๆ
ซึ่งนอกจากเด็กจะได้รับความสนุกสนานแล้ว
ยังช่วยให้เด็กรู้จักแก้ไขปัญหาเบื้องต้นว่าต้องทำอย่างไรเพื่อเล่นให้สำเร็จ
3.
วัตถุประสงค์การวิจัย
- เพื่อผลิตต้นแบบเหมือนจริง (PROTOTYPE) ของศิลปะการออกแบบเครื่องเล่นเพื่อจินตนาการชุด เก้าอี้เพื่อจินตนาการที่จัดทำเป็นงานวิจัย
3.2เพื่อศึกษากระบวนศิลปะการออกแบบเครื่องเล่นเพื่อจินตนาการ
ชุด เก้าอี้เพื่อจินตนาการ
3.3
เพื่อใช้ศิลปะเป็นสื่อในการสอน
ศึกษา ค้นคว้า
การแสดงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของเด็กพิเศษเพื่อการรักษาต่อเนื่องและสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
4.
สมมติฐานการวิจัย
5.
นิยามศัพท์เฉพาะ
งานเพ้นท์
หมายถึง
การสร้างสรรค์งานเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวบนวัสดุ
เช่น บนกระดาษ แผ่นไม้
หรือผนังโดยใช้วัสดุประเภทสี
ดินสอ ปากกา ชอล์ค ถ่าน สีน้ำมัน
สีน้ำและสีฝุ่น
เขียนหรือระบายให้เป็นสื่อทำให้ผู้ที่พบเห็นเกิดความเข้าใจ
โดยสร้างผลงานออกมาในรูปร่างหรือรูปแบบต่างๆ
และทำให้ผู้ดูเกิดความรู้สึกคล้อยตามหรือเกิดอารมณ์ตามผลงานที่สร้างสรรค์
เด็กพิเศษ
(Special
Child)
มาจากคำเต็มว่าเด็กทีมีความต้องการพิเศษ
(Child
with Special Needs)
หมายถึง
เด็กกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือเป็นพิเศษมากกว่าเด็กทั่วๆไปทั้งในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน
การเรียนรู้ และการเข้าสังคม
ซึ่งนายแพทย์ทวีศักดิ์
สิริรัตน์เรขา (จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น)
ได้แบ่งเด็กพิเศษเป็น
3
กลุ่มหลักๆ
ดังนี้ เด็กที่มีความสามารถพิเศษ
เด็กที่มีความพกพร่อง
และสุดท้ายเด็กยากจนและด้อยโอกาสแต่ในการศึกษาปัญหาการวิจัยโครงการวิจัย
ศิลปะการออกแบบชั้นวางของเพื่อเด็กพิเศษ
จะหมายถึงเด็กพิเศษที่สถานสงเคราะห์เด็กอ่อนทางสมองและปัญญาหรือที่รู้จักกันในนาม
บ้านเฟื่องฟ้า
ซึ่งรับผิดชอบเลี้ยงดูเด็กอ่อนพิการทุกประเภททั้งชาย
และ หญิง อายุแรกเกิดถึง 7
ปี
6.
ขอบเขตการวิจัย
6.1
แบบร่าง
(IDEA
SKETCH)
6.2
แบบที่ทำการสรุป
(CONCEPT
SKETCH)
6.3
แบบเพื่อนำไปผลิต
(WORKING
DRAWING หรือ
ART
WORK)
6.4
ต้นแบบเหมือนจริง
(PROTOTYPE)
6.5
รายงานการวิจัยจำนวน
3
ฉบับ
6.6
ซีดีรายงานการวิจัยจำนวน
1
ชุด
7.
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
7.1
กระบวนการออกแบบศิลปะการออกแบบเครื่องเล่นเพื่อจินตนาการ
ชุด เก้าอี้เพื่อจินตนาการ
7.2
พัฒนาการเรียนรู้เด็กพิเศษ
โดยใช้ศิลปะเป็นสื่อหรือเครื่องมือ
8.
การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารอ้างอิง
ในการวิจัยเรื่องารออกแบบศิลปะการออกแบบแบบจำลองพื้นผิวเพื่อเด็กพิเศษ
ชุด เก้าอี้เพื่อจินตนาการ
ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ตรงตาม
Concept
ที่กำหนดไว้และเป็นงานที่ถูกต้องตามหลักทฤษฎีของสีและการจัดองค์ประกอบต่างๆ
ในการออกแบบลวดลาย
ผู้ศึกษาจึงใช้หลักการที่เกี่ยวข้องดังนี้
8.1
ทฤษฎี
8.1.1
การออกแบบลวดลาย
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ
การรู้จักคิด วางแผน
ในการสร้างสรรค์สิ่งที่มีอยู่แล้วนำมาปรับปรุง
ดัดแปลงแก้ไข
หรือสร้างสรรค์ใหม่โดยใช้วิธีการต่างๆ
ทำให้เกิดความงาม
เพื่อการประดิษฐ์ตกแต่งใหม่ให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย
(เอมอร
วิศุภกาญจน์,2542
: 2)
8.1.2
หลักการใช้สี
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ
สีมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นอย่างมากในด้านของการรับรู้
อารมณ์ความรู้สึก
การที่เราจะกำหนดสีลงในลวดลาย
ผู้ออกแบบควรรับรู้หลักการใช้สีเพื่อจะได้กำหนดสีได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
และประโยชน์ใช้สอยอีกด้วย
(ดุษฎี
สุนทรารชุน,2531
:107)
8.1.3
หลักการใช้สีประกอบร่วมแบบวรรณะ
(TONE)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ
สีเราจะนำมาระบายนั้นส่วนใหญ่มักจะใช้สีประกอบร่วมแบบ
แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ที่ทำการออกแบบที่จะมุ่งที่ทำให้ผู้ดูเกิดความรู้สึก
ไปในทางร้อนหรือ เย็น
หรืออีกทางหนึ่งก็คือทำให้เกิดการผสมผสานและกลมกลืนกัน
การใช้สี ประกอบร่วม
วรรณะจะไม่ใช้วรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว
โดยกำหนดหลักการใช้สีไว้
ในอัตรา 50/50,60
/40,80/20 (คนึง
จันทร์ศิริ:มปป.)
8.2
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
8.2.1
พุฑฒิพงษ์
เพชรรัตน์ :
การศึกษาพฤติกรรมซ้ำๆ
ของนักเรียนออทิสติกอายุ
7-10
ปีในโรงเรียนศึกษาพิเศษ
จากการใช้โปรแกรมปรับพฤติกรรมกิจกรรมการเคลื่อนไหว
พบว่า
หลังจากใช้โปรแกรมปรับพฤติกรรมกิจกรรมการเตลื่อนไหวนักเรียนออทิสติกทั้ง
3
คน
มีพฤติกรรมซ้ำๆ
ลดลงอยู่ในระดับพอใช้และระดับปานกลาง
(2
ตุลาคม
2555
จาก
http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Spe_Ed/Puttipong_P.pdf)
9.
ระเบียบวิธีวิจัย
9.1
ประชากร
กลุ่มผู้บริโภค Generation
จำนวน
...........
คน
9.2
การสุ่มตัวอย่าง
ใช้การสุ่มแบบง่าย ตามสูตรยามาเน
จากนั้นจึงกำหนดกระบวนการตามกรอบการวิจัย
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
9.2.1
ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิต
(PRE-PRODUCTION)
-
กำหนดประเด็นของปัญหา
ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม
เพื่อ ตั้งสมมติฐาน
-
จัดทำแบบร่าง
(IDEA
SKETCH) และทำการสรุปแบบตามสมมติฐาน
(CONCEPT
SKETCH)
9.2.2
ขั้นตอนการผลิต
(PRODUCTION)
-
แสดงกระบวนการผลิตต้นแบบเหมือนจริง
9.2.3
ขั้นตอนหลังการผลิต
(POST
PRODUCTION)
-
ประเมินผลด้วยเครื่องมือที่สร้างไว้โดยมีความสัมพันธ์กับลักษณะของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
-
วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลการวิจัยในรูปแบบความเรียง
9.3
เครื่องมือในการวิเคราะห์มูล
-
แบบสอบถามความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์
คำชี้แจง
:
โปรดทำเครื่องหมาย
/
หน้าข้อความซึ่งตรงกับความเป็นจริงของท่าน
โดยมีเครื่องหมายของ
ระดับความคิดเห็นดังนี้
5 หมายถึง
มีความเหมาะสมมากที่สุด
4 หมายถึง
มีความเหมาะสมมาก
3 หมายถึง
มีความเหมาะสมปานกลาง
2 หมายถึง
มีความเหมาะสมน้อย
1 หมายถึง
มีความเหมาะสมน้อยที่สุด
รายละเอียด
|
แบบที่
1
5
4 3 2 1
|
แบบที่
2
5
4 3 2 1
|
แบบที่
3
5
4 3 2 1
|
1.การสื่อสาร
ความหมาย ความเข้าใจ 1.1 เก้าอี้ชุดจินตนการนี้บอกความหมายได้ชัดเจน 1.2 ก้าอี้ชุดจินตนการนี้บอกความหมายตรงตามชื่อได้ชัดเจน 1.3 ก้าอี้ชุดจินตนการนี้สามารถสื่อความหมายสิดคล้องและง่ายต่อการจดจำ 2. วัตถุประสงค์ในการออกแบบ 2.1ก้าอี้ชุดจินตนการนี้แสดงเครื่องหมายของความเป็นไทย 2.2 ก้าอี้ชุดจินตนการนี้แสดงถึงบุคลิกของกลุ่มผู้ผลิตได้ชัดเจน 3. หลักศิลป์และความงาม 3.1 ก้าอี้ชุดจินตนการนี้ใช้คู่สีได้สวยงามและเหมาะสม 3.2 ส่วนประกอบต่าง ๆ ประสานกลมกลืนกัน 3.3 ผลิตภัณฑ์สวยงาม สะดุดตา 4. การรับรู้ 4.1 ความสามารถในการมองเห็นระยะ ใกล้ - ไกล 4.2 ผลิตถัณฑ์สื่อสารชัดเจนไม่เบี่ยงเบนจากความจริง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ข้อเสนอแนะ
…........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
-
แบบสัมภาษณ์
1.
ผลิตภัณฑ์แบบจำลองพื้นผิววางขายอย่างไร
มีกี่ชินด
2.
กลุ่มผู้บริโภคซื้อมาใช้อย่างไร
มีความถี่มากน้อยเพียงไร
3.
การขนย้ายผลิตภัณฑ์เป็นอย่างไร
มีกี่วิธี
4.
ท่านมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในแนวทางต่าง
ๆ อย่างไร
9.4การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
-
วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย
(X)
จากร้อยละ