โครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา
งานวิจัยเรื่อง
เก้าอี้เด็ก :
ชุดจิตนาการ
ART
DESIGN PROJECT OF GIASSWARE PAINTING: BUTTERFLY AND FLOWER
ชื่อผู้ทำวิจัย นาย
วิเชษฐ์ ของครบ
รหัสประจำตัว
สาขาวิชาศิลปกรรม
(ออกแบบประยุกต์ศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัย.....................................................................
............................................................................................................................................
ลงชื่อ
.............................................
(...........................................)
คณบดีหรือรองคณบดีพิจารณาเห็นชอบ
................................................................................................................................................
ลงชื่อ
............................................
(...........................................)
ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษมประเภทนักศึกษา
ส่วน
ก :
ลักษณะทั่วไปของโครงการวิจัย
1.
ปีการศึกษาที่เสนอขอรับทุน
..2555...
2.
ประเภทการวิจัย
(
) การวิจัยสำรวจ (
) การวิจัยทดลอง (
) การวิจัยและพัฒนา
3.
งบประมาณที่เสนอขอทุน
5,000
บาท
4.
ระยะเวลาในการทำวิจัย
1
ปี
ส่วน
ข :
รายละเอียดการทำวิจัย
1.
ชื่อโครงการวิจัย
เก้าอี้เด็ก :
ชุดจิตนาการ
ART
DESIGN PROJECT OF GIASSWARE PAINTING: BUTTERFLY AND FLOWER
2.
ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
เฟอร์นิเจอร์มีหลากหลายรูปแบบท่ามกลางเฟอร์นิเจอร์หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆเราใช้สิ่งไหนที่ว่าบ่อยในชีวิตประจำวันของเราหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่เราใช้บ่อยมากนั้นเก้าอี้นั้นเอง
แต่เรากลับให้ความสำคัญกับเก้าอี้น้อยมาก
ใช้แค่นั่งกับนั่งแล้วก็นั่งแต่ประโยชน์ของเก้าอี้นั้นมีมากมายใช้บันไดใช้แทนเตียง{ในบางครั้ง}ในปัจจุบันวัสดุที่นำมาทำเก้าอี้
มีหลายประเภทด้วยเช่นกัน
เช่น ไม้ อะลูมิเนียม หนังสัตว์
เหล็ก
และวัสดุอื่นๆอีกมากมายการดีไซน์เก้าอี้ให้เหมาะสมกับการใช้งานก็ถือว่าสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
ผมจึงอย่างนำเสนอเก้าอี้สำหรับเด็ก
ชุดจินตนาการ
เพราะเด็กในช่วงประถมต้นเป็นช่วงที่กำลังมีการพัฒนาทางสมองเป็นอย่างดีเด็กในช่วงนี้จึงควรได้รับสิ่งที่คอยช่วยเรื่องความคิด
ในสังคมปัจจุบันการออกแบบเข้ามามีบทบาทอย่างมากในด้านการแข็งขันกันทางธุรกิจ
ไม่ว่าจะเป็นศิลปะในสาขาวิชาชีพใดต่างก็หาจุดที่สร้างความสนใจให้กับสินค้าของตนเอง
เพื่อสร้างสิ่งที่แตกต่างกันระหว่างตัวสินค้าให้คงเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่เหมือนกับคู่แข่งทางธุรกิจประเภทเดียวกัน
และยังสามารถพัฒนาก้าวหน้าไปเป็นสินค้าที่ส่งออกไปยังต่างประเทศที่มีคุณภาพได้อีกด้วย
การออกแบบเก้าอี้เด็กเพื่อเสริมสร้างจินตนาการของเด็กก็เหมือนกัน
ก็เป็นงานศิลปะอีกแขนงหนึ่งที่มีการสร้างสรรค์สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิมให้ดูดีมีความทันสมัยมากขึ้นและยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์และสร้างเสริมจินตนาการและเป็นของใช้ในสถานทีเรียนให้ดูมีความสวยงามมีลูกเล่น
อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสินค้างานซึ่งปัจจุบันผลิตภัณฑ์ที่เสริมสร้างจินตนาการให้กับเด็กเป็นที่ต้องการไปทั่วโลก
3.
วัตถุประสงค์การวิจัย
3.1
เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบเก้าอี้เด็กที่สร้างสรรค์ความคิดให้กับเด็ก
3.2
เพื่อผลิตต้นแบบเหมือนจริง
(PROTOTYPE)
ของเก้าอี้เด็ก
:
ชุดจิตนาการ
4.
สมมติฐานการวิจัย
การวิจัยการออกแบบครั้งนี้ได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบในส่วนต่างๆของกระบวนการทำเก้าอี้เป็นหลัก
โดยคลี่คลายรูปแบบจากแรงบัลดาลใจจากนั้นจึงทำการออกแบบเก้าอี้นั่งเล่น
โดยกำหนดให้เป็นสัตว์โดยจะให้เด็กจินตนการหละทำการวาดรูปหน้าเข้าไปได้เพื่อเสริมสร้างจินตนาการให้เด็กอีกทางหนึ่งด้วยวิจัยจึงมีความคาดหวังว่า
จะนำเสนอผลงานที่ได้ออกแบบมาเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภคที่ต้องการความแปลกใหม่ไม่ซ้ำกับเก้าอี้ที่นั่งในห้องเรียนทั่วไป
5.
นิยามศัพท์เฉพาะ
การออกแบบ
หมายถึง
การเลือกสรรส่วนประกอบต่างๆทางด้านศิลปะมาจัดเป็นรูปแบบต่างๆขึ้นรวมถึงแนวความคิดของศิลปินในการจัดองค์ประกอบศิลป์
เช่นการจัดทิศทาง ขนาด
รูปร่างของเส้น มุม และรูปทรงต่างๆ
โดยเราต้องคำนึงถึงการจัดวาง
ความสมดุลสิ่งเหล่านี้ที่เป็นส่วยประกอบของการออกแบบ(กระทรวงศึกษาธิการ,2540:248)
เก้าอี้ หมายถึง
ที่นั่งประเภทหนึ่ง
โดยมักจะเป็นที่นั่งสำหรับคนเดียว
โดยในส่วนที่นั่งจะอยู่เหนือจากระดับพื้น
มีขาเก้าอี้ 4
ขารองรับข้างใต้
เก้าอี้สร้างสรรค์
หมายถึงการประกอบแบบไหนคิดคำนวลลวงทำลองเล่นสนุกกับเก้าอี้
6.
ขอบเขตการวิจัย
6.1
แบบร่าง(IDEA
SKETCH)
6.2
แบบที่ทำการสรุป(CONCEPT
SKETCH)
6.3
แบบเพื่อนำไปผลิต(WORKING
DRAWING หรือ
ART
WORK)
6.4
ต้นแบบเหมือนจริง(PROTOTYPE)
6.5
รายงานการวิจัยจำนวน
3
ฉบับ
6.6
ซีดีรายงานการวิจัยจำนวน
1
ชุด
7.
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
7.1 กระบวนการออกแบบเก้าอี้
ชุดจินตนาการ
7.2 ต้นแบบเหมือนจริง
(PROTOTYPE)
ของการออกแบบเก้าอี้
ชุดจินตนาการก่อนนั่ง
8.
การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารอ้างอิง
ในการวิจัยเรื่องการออกแบบเก้าอี้ชุดจินตนาการก่อนนั่ง
ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ตรงตาม
Concept
ที่กำหนดไว้และเป็นงานที่ถูกต้องตามหลักทฤษฎีของสีและการจัดองค์ประกอบต่างๆ
ในการออกแบบเสริมสร้างความคิดให้กับเด็ก
ผู้ศึกษาจึงใช้หลักการที่เกี่ยวข้องดังนี้
8.1
ทฤษฎี
8.1.1
การออกแบบลวดลาย
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ
การรู้จักคิด วางแผน
ในการสร้างสรรค์สิ่งที่มีอยู่แล้วนำมาปรับปรุง
ดัดแปลงแก้ไข
หรือสร้างสรรค์ใหม่โดยใช้วิธีการต่างๆ
ทำให้เกิดความงาม
เพื่อการประดิษฐ์ตกแต่งใหม่ให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย
(เอมอร
วิศุภกาญจน์,2542,หน้า
2)
8.1.2
หลักการใช้สี
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ
สีมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นอย่างมากในด้านของการรับรู้
อารมณ์ความรู้สึก
การที่เราจะกำหนดสีลงในลวดลาย
ผู้ออกแบบควรรับรู้หลักการใช้สีเพื่อจะได้กำหนดสีได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
และประโยชน์ใช้สอยอีกด้วย
(ดุษฎี
สุนทรารชุน,2531,หน้า107)
8.1.3
หลักการใช้สีประกอบร่วมแบบวรรณะ
(TONE)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ
สีเราจะนำมาระบายนั้นส่วนใหญ่มักจะใช้สีประกอบร่วมแบบ
วรรณะใดวรรณะหนึ่ง
แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ที่ทำการออกแบบที่จะมุ่งที่ทำให้ผู้ดูเกิดความรู้สึก
ไปในทางร้อนหรือเย็น
หรืออีกทางหนึ่งก็คือทำให้เกิดการผสมผสานและกลมกลืนกัน
การใช้สี
ประกอบร่วมวรรณะจะไม่ใช้วรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว
โดยกำหนดหลักการใช้สีไว้
ในอัตรา
50/50,60
/40,80/20 (คนึง
จันทร์ศิริ:มปป.)
8.2
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
8.2.1การออกแบบเฟอร์นิเจอร์นั้น,
อาจแบ่งรูปแบบของการออกแบบเฟอร์นิเจอร์
ได้เป็นสามประเภท, คือ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามรูปแบบดังเดิมที่มีอยู่ ,เช่น การออกแบบเฟอร์นิเจอรในรูปแบบไทย,แบบจีน,แบบอังกฤษ,แบบฝรั่งเศส และแบบเมดิเตอเรเนียน เป็นต้น ซึ่งการออกแบเฟอร์นิเจอร์รูปแบบนี้จะได้รับอิทธิพลหรือแรงบันดาลใจมาจากเฟอร์นิเจอร์รูปแบบดั้งเดิมที่มีการใช้งานอยู่ในแต่ละยุคสมัย, การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามรูปแบบของท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นการออกแบบที่มีการนำวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ มาเป็นส่วนประกอบหลักของชิ้นงาน เช่น ไม้ไผ่หรือหวาย รวมไปถึงวิถีชีวิตและรูปแบบความเป็นอยู่ของท้องถิ่นนั้น เช่น ความเรียบง่ายในชีวิตความเป็นอยู่ ทำให้ไม่ต้องการเฟอร์นิเจอร์ที่มีรายละเอียดหรือการตกแต่งมากนัก เป็นต้น,การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามแบบสมัยนิยม, ซึ่งเป็นการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามความนิยมของยุคสมัย, เช่น รูปทรงหรือการใช้สีของเฟอร์นิเจอร์,มีการนำวัสดุอื่นๆ เช่น โลหะ พลาสติก กระจกสี มาใช้ในการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์เพิ่มเติมเพื่อความสวยงาม เป็นต้น ซึ่งการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ผลิตภัณฑ์งานไม้ อาจไม่ได้มีรูปแบบตายตัวหรือยึดตามแนวทางใดแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่อาจจะต้องมีการประยุกต์เพื่อให้เข้ากับความต้องการของลูกค้าและการใช้งานในชีวิตประจำวัน
8.2.2โครงการออกแบบเก้าอี้เด็ก:
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
พบว่า
การออกแบบเก้าอี้เด็กต้องคำนึงสัดส่วนของเด็กหรือสัดส่วนของกลุ่มผู้บริโภคและสิ่งที่กลุ่มบริโภคต้องการ
ได้เป็นสามประเภท, คือ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามรูปแบบดังเดิมที่มีอยู่ ,เช่น การออกแบบเฟอร์นิเจอรในรูปแบบไทย,แบบจีน,แบบอังกฤษ,แบบฝรั่งเศส และแบบเมดิเตอเรเนียน เป็นต้น ซึ่งการออกแบเฟอร์นิเจอร์รูปแบบนี้จะได้รับอิทธิพลหรือแรงบันดาลใจมาจากเฟอร์นิเจอร์รูปแบบดั้งเดิมที่มีการใช้งานอยู่ในแต่ละยุคสมัย, การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามรูปแบบของท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นการออกแบบที่มีการนำวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ มาเป็นส่วนประกอบหลักของชิ้นงาน เช่น ไม้ไผ่หรือหวาย รวมไปถึงวิถีชีวิตและรูปแบบความเป็นอยู่ของท้องถิ่นนั้น เช่น ความเรียบง่ายในชีวิตความเป็นอยู่ ทำให้ไม่ต้องการเฟอร์นิเจอร์ที่มีรายละเอียดหรือการตกแต่งมากนัก เป็นต้น,การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามแบบสมัยนิยม, ซึ่งเป็นการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามความนิยมของยุคสมัย, เช่น รูปทรงหรือการใช้สีของเฟอร์นิเจอร์,มีการนำวัสดุอื่นๆ เช่น โลหะ พลาสติก กระจกสี มาใช้ในการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์เพิ่มเติมเพื่อความสวยงาม เป็นต้น ซึ่งการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ผลิตภัณฑ์งานไม้ อาจไม่ได้มีรูปแบบตายตัวหรือยึดตามแนวทางใดแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่อาจจะต้องมีการประยุกต์เพื่อให้เข้ากับความต้องการของลูกค้าและการใช้งานในชีวิตประจำวัน
9.
ระเบียบวิธีวิจัย
9.1
ประชากร
กลุ่มผู้บริโภค
gennaratin
คน
เก้าอี้เด็ก
:
ชุดจิตนาการ
9.2
การสุ่มตัวอย่าง
ใช้การสุ่มแบบง่าย
ตามสูตรยามาเน
จากนั้นจึงกำหนดกระบวนการตามกรอบการวิจัย
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
9.2.1
ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิต
(PRE-PRODUCTION)
-
กำหนดประเด็นของปัญหา
ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม
เพื่อ
ตั้งสมมติฐาน
-
จัดทำแบบร่าง
(IDEA
SKETCH) และทำการสรุปแบบตามสมมติฐาน
(CONCEPT
SKETCH)
9.2.2
ขั้นตอนการผลิต
(PRODUCTION)
-
แสดงกระบวนการผลิตต้นแบบเหมือนจริง
9.2.3
ขั้นตอนหลังการผลิต
(
POST PRODUCTION)
-ประเมินผลด้วยเครื่องมือที่สร้างไว้โดยมีความสัมพันธ์กับลักษณะของ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
-
วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลการวิจัยในรูปแบบความเรียง
9.3
เครื่องมือในการวิเคราะห์มูล
-
แบบสอบถามความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์
-
แบบสัมภาษณ์
9.4
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
- วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย
(
X ) จากร้อยละ
10.
แผนการดำเนินงานตลอดโครงการ
กิจกรรม
|
พ.ย.55 | ธ.ค. 55 | ม.ค. 56 | ก.พ. 56 |
หมายเหตุ
|
1.การวางแผนก่อนการผลิต
-
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
-
แบบร่าง
-
สรุปแบบ |
|||||
2.กระบวนการผลิต
-
สรุปแบบ |
|||||
3.กระบวนการหลังการผลิต
-
ทดสอบสมมติฐาน
-
วิเคราะห์ข้อมูล
-
แปรผล
-
เรียบเรียงรายงานการวิจัย |
11.
รายละเอียดงบประมาณ
11.1
ค่าใช้สอย
ลำดับ
|
รายการ |
ราคาต่อ
หน่วย |
จำนวน | รวมเงิน | หมายเหตุ |
1. | ค่าจ้างพิมพ์ | 10 บาท | 200 แผ่น | 2,000 บาท | |
2. | ค่าจ้างปริ้นสี | 5 บาท | 200 แผ่น | 1,000 บาท | |
รวมเป็นเงิน
(…สามพันบาทถ้วน...) |
3,000 บาท |
11.2
ค่าวัสดุ
(ค่าวัสดุที่ผลิตผลงานต้นแบบเหมือนจริง)
ลำดับ
|
รายการ |
ราคาต่อ
หน่วย |
จำนวน | รวมเงิน | หมายเหตุ |
1. |
งานออกแบบเก้าอี้เด็ก
:
ชุดจิตนาการ
การออกแบบ มี
-
ไม้เนื้อแข็ง
-
สีทาบ้าน
-
เลกเกอร์เคลือบเงา
(แบบใส)
-
แปลงทาสี |
550 บาท
100
บาท
45
บาท
50
บาท |
2
แผ่น
8
กระปุก
1
กระป๋อง
1ด้าม |
1100
บาท
800
บาท
50
บาท
50
บาท |
|
รวมเป็นเงิน
(...สองพันบาทถ้วน...) |
2000 บาท |
รวมงบประมาณทั้งสิ้นเป็นเงิน...
5000… บาท
(...ห้าพันบาทถ้วน...)
หมายเหตุ :
ถัวเฉลี่ยทุกรายการ
ลงชื่อ
.............................................
( นาย วิเชษฐ์ ของครบ
)
ผู้ขอทุนวิจัย
......../........./..........
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ-สกุล นายวิเชษฐ์
ของครบ
MR.
VICHAT
KHONGKROB
รหัสประจำตัว
ที่อยู่ปัจจุบัน
11-12
หัวแฟตล5
เขตคลองเตย
แขวงคลองเตย ถ.อาจณรงค์
10110
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ
081-484-9383
หมายเลขโทรศัพท์ที่พักอาศัย
-
E-Mail:binzhonda@hotmail.com
, wichej89@gmail.com
ประวัติการศึกษา
-
ประถมศึกษา
โรงเรียนศูนย์รวมน้ำใจ
-
มัธยมศึกษา
โรงเรียนวัดธาตุทอง
-
ป
ว ช ศึกษา ไทยวิจิตรศิลป
-
กำลังศึกษาชั้นปีที่
4
สาขาวิชาศิลปกรรม
(ออกแบบประยุกต์ศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
…………………………………
(
นาย
วิเชษฐ์ ของครบ )
ผู้วิจัย
วันที่......./เดือน..../พ.ศ.........
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น