วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



ประเภทนักศึกษา

ส่วน ก : ลักษณะทั่วไปของโครงการวิจัย
1. ปีการศึกษาที่เสนอขอรับทุน 2556
2. ประเภทการวิจัย
                (  ) การวิจัยสำรวจ               (/  )  การวิจัยทดลอง            (  ) การวิจัยและพัฒนา
                (  ) การวิจัยสถาบัน             (  ) การวิจัยในชั้นเรียน      (  ) การวิจัยสิ่งประดิษฐ์
3. งบประมาณที่เสนอขอทุน..........5000............บาท
4. ระยะเวลาในการทำวิจัย  1 ปี

ส่วน ข : รายละเอียดการทำวิจัย
1. ชื่อโครงการวิจัย เก้าอี้เด็ก ชุดจิตนาการ
ART DESIGN PROJECT OF GIASSWARE PAINTING: BUTTERFLY AND FLOWER


2. ชื่อผู้วิจัย/คณะผู้วิจัย     นาย วิเชษฐ์ ของครบ
          รหัสประจำตัว 
          สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบประยุกต์ศิลป์)
          ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


3. ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
เฟอร์นิเจอร์มีหลากหลายรูปแบบท่ามกลางเฟอร์นิเจอร์หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆเราใช้สิ่งไหนที่ว่าบ่อยในชีวิตประจำวันของเราหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่เราใช้บ่อยมากนั้นเก้าอี้นั้นเอง แต่เรากลับให้ความสำคัญกับเก้าอี้น้อยมาก ใช้แค่นั่งกับนั่งแล้วก็นั่งแต่ประโยชน์ของเก้าอี้นั้นมีมากมายใช้บันไดใช้แทนเตียง{ในบางครั้ง}ในปัจจุบันวัสดุที่นำมาทำเก้าอี้ มีหลายประเภทด้วยเช่นกัน เช่น ไม้ อะลูมิเนียม หนังสัตว์ เหล็ก และวัสดุอื่นๆอีกมากมายการดีไซน์เก้าอี้ให้เหมาะสมกับการใช้งานก็ถือว่าสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ผมจึงอย่างนำเสนอเก้าอี้สำหรับเด็ก ชุดจินตนาการ เพราะเด็กในช่วงประถมต้นเป็นช่วงที่กำลังมีการพัฒนาทางสมองเป็นอย่างดีเด็กในช่วงนี้จึงควรได้รับสิ่งที่คอยช่วยเรื่องความคิด ในสังคมปัจจุบันการออกแบบเข้ามามีบทบาทอย่างมากในด้านการแข็งขันกันทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นศิลปะในสาขาวิชาชีพใดต่างก็หาจุดที่สร้างความสนใจให้กับสินค้าของตนเอง เพื่อสร้างสิ่งที่แตกต่างกันระหว่างตัวสินค้าให้คงเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่เหมือนกับคู่แข่งทางธุรกิจประเภทเดียวกัน และยังสามารถพัฒนาก้าวหน้าไปเป็นสินค้าที่ส่งออกไปยังต่างประเทศที่มีคุณภาพได้อีกด้วย การออกแบบเก้าอี้เด็กเพื่อเสริมสร้างจินตนาการของเด็กก็เหมือนกัน ก็เป็นงานศิลปะอีกแขนงหนึ่งที่มีการสร้างสรรค์สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิมให้ดูดีมีความทันสมัยมากขึ้นและยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์และสร้างเสริมจินตนาการและเป็นของใช้ในสถานทีเรียนให้ดูมีความสวยงามมีลูกเล่น อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสินค้างานซึ่งปัจจุบันผลิตภัณฑ์ที่เสริมสร้างจินตนาการให้กับเด็กเป็นที่ต้องการไปทั่วโลก


4. วัตถุประสงค์การวิจัย
1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบเก้าอี้เด็กที่สร้างสรรค์ความคิดให้กับเด็ก
2 เพื่อผลิตต้นแบบเหมือนจริง (PROTOTYPE) ของเก้าอี้เด็ก : ชุดจิตนาการ

5. สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี)
การวิจัยการออกแบบครั้งนี้ได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบในส่วนต่างๆของกระบวนการทำเก้าอี้เป็นหลัก โดยคลี่คลายรูปแบบจากแรงบัลดาลใจจากนั้นจึงทำการออกแบบเก้าอี้นั่งเล่น โดยกำหนดให้เป็นสัตว์โดยจะให้เด็กจินตนการหละทำการวาดรูปหน้าเข้าไปได้เพื่อเสริมสร้างจินตนาการให้เด็กอีกทางหนึ่งด้วยวิจัยจึงมีความคาดหวังว่า จะนำเสนอผลงานที่ได้ออกแบบมาเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภคที่ต้องการความแปลกใหม่ไม่ซ้ำกับเก้าอี้ที่นั่งในห้องเรียนทั่วไป
6. นิยามศัพท์เฉพาะ
การออกแบบ หมายถึง การเลือกสรรส่วนประกอบต่างๆทางด้านศิลปะมาจัดเป็นรูปแบบต่างๆขึ้นรวมถึงแนวความคิดของศิลปินในการจัดองค์ประกอบศิลป์ เช่นการจัดทิศทาง ขนาด รูปร่างของเส้น มุม และรูปทรงต่างๆ โดยเราต้องคำนึงถึงการจัดวาง ความสมดุลสิ่งเหล่านี้ที่เป็นส่วยประกอบของการออกแบบ(กระทรวงศึกษาธิการ,2540:248)
เก้าอี้ หมายถึง ที่นั่งประเภทหนึ่ง โดยมักจะเป็นที่นั่งสำหรับคนเดียว โดยในส่วนที่นั่งจะอยู่เหนือจากระดับพื้น มีขาเก้าอี้ 4 ขารองรับข้างใต้
เก้าอี้สร้างสรรค์ หมายถึงการประกอบแบบไหนคิดคำนวลลวงทำลองเล่นสนุกกับเก้าอี้

7. ขอบเขตการวิจัย
1 แบบร่าง(IDEA SKETCH)
2 แบบที่ทำการสรุป(CONCEPT SKETCH)
3 แบบเพื่อนำไปผลิต(WORKING DRAWING หรือ ART WORK)
4 ต้นแบบเหมือนจริง(PROTOTYPE)
5 รายงานการวิจัยจำนวน 3 ฉบับ
6 ซีดีรายงานการวิจัยจำนวน 1 ชุด


8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 กระบวนการออกแบบเก้าอี้ ชุดจินตนาการ 
2 ต้นแบบเหมือนจริง (PROTOTYPE) ของการออกแบบเก้าอี้ ชุดจินตนาการก่อนนั่ง

9. การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารอ้างอิง
ในการวิจัยเรื่องการออกแบบเก้าอี้ชุดจินตนาการก่อนนั่ง ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ตรงตาม Concept ที่กำหนดไว้และเป็นงานที่ถูกต้องตามหลักทฤษฎีของสีและการจัดองค์ประกอบต่างๆ ในการออกแบบเสริมสร้างความคิดให้กับเด็ก ผู้ศึกษาจึงใช้หลักการที่เกี่ยวข้องดังนี้
9.1 ทฤษฎี
9.1.1 การออกแบบลวดลาย
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ การรู้จักคิด วางแผน ในการสร้างสรรค์สิ่งที่มีอยู่แล้วนำมาปรับปรุง ดัดแปลงแก้ไข หรือสร้างสรรค์ใหม่โดยใช้วิธีการต่างๆ ทำให้เกิดความงาม เพื่อการประดิษฐ์ตกแต่งใหม่ให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย (เอมอร วิศุภกาญจน์,2542,หน้า 2)
9.1.2 หลักการใช้สี
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ สีมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นอย่างมากในด้านของการรับรู้ อารมณ์ความรู้สึก การที่เราจะกำหนดสีลงในลวดลาย ผู้ออกแบบควรรับรู้หลักการใช้สีเพื่อจะได้กำหนดสีได้ถูกต้อง เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และประโยชน์ใช้สอยอีกด้วย (ดุษฎี สุนทรารชุน,2531,หน้า107)
9.1.3 หลักการใช้สีประกอบร่วมแบบวรรณะ (TONE)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ สีเราจะนำมาระบายนั้นส่วนใหญ่มักจะใช้สีประกอบร่วมแบบ
วรรณะใดวรรณะหนึ่ง แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ที่ทำการออกแบบที่จะมุ่งที่ทำให้ผู้ดูเกิดความรู้สึก
ไปในทางร้อนหรือเย็น หรืออีกทางหนึ่งก็คือทำให้เกิดการผสมผสานและกลมกลืนกัน การใช้สี
ประกอบร่วมวรรณะจะไม่ใช้วรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว โดยกำหนดหลักการใช้สีไว้ ในอัตรา
50/50,60 /40,80/20 (คนึง จันทร์ศิริ:มปป.)

9.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
9.2.1การออกแบบเฟอร์นิเจอร์นั้น, อาจแบ่งรูปแบบของการออกแบบเฟอร์นิเจอร์
ได้เป็นสามประเภท, คือ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามรูปแบบดังเดิมที่มีอยู่ ,เช่น การออกแบบเฟอร์นิเจอรในรูปแบบไทย,แบบจีน,แบบอังกฤษ,แบบฝรั่งเศส และแบบเมดิเตอเรเนียน เป็นต้น ซึ่งการออกแบเฟอร์นิเจอร์รูปแบบนี้จะได้รับอิทธิพลหรือแรงบันดาลใจมาจากเฟอร์นิเจอร์รูปแบบดั้งเดิมที่มีการใช้งานอยู่ในแต่ละยุคสมัย, การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามรูปแบบของท้องถิ่น ซึ่งจะเป็นการออกแบบที่มีการนำวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ มาเป็นส่วนประกอบหลักของชิ้นงาน เช่น ไม้ไผ่หรือหวาย รวมไปถึงวิถีชีวิตและรูปแบบความเป็นอยู่ของท้องถิ่นนั้น เช่น ความเรียบง่ายในชีวิตความเป็นอยู่ ทำให้ไม่ต้องการเฟอร์นิเจอร์ที่มีรายละเอียดหรือการตกแต่งมากนัก เป็นต้น,การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามแบบสมัยนิยม, ซึ่งเป็นการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ตามความนิยมของยุคสมัย, เช่น รูปทรงหรือการใช้สีของเฟอร์นิเจอร์,มีการนำวัสดุอื่นๆ เช่น โลหะ พลาสติก กระจกสี มาใช้ในการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์เพิ่มเติมเพื่อความสวยงาม เป็นต้น ซึ่งการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ผลิตภัณฑ์งานไม้ อาจไม่ได้มีรูปแบบตายตัวหรือยึดตามแนวทางใดแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่อาจจะต้องมีการประยุกต์เพื่อให้เข้ากับความต้องการของลูกค้าและการใช้งานในชีวิตประจำวัน
9.2.2โครงการออกแบบเก้าอี้เด็กคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม พบว่า การออกแบบเก้าอี้เด็กต้องคำนึงสัดส่วนของเด็กหรือสัดส่วนของกลุ่มผู้บริโภคและสิ่งที่กลุ่มบริโภคต้องการ 
10. ระเบียบวิธีวิจัย
    10.1 ประชากร
กลุ่มผู้บริโภค gennaratin คน เก้าอี้เด็ก : ชุดจิตนาการ
10.2 การสุ่มตัวอย่าง
ใช้การสุ่มแบบง่าย ตามสูตรยามาเน
จากนั้นจึงกำหนดกระบวนการตามกรอบการวิจัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้
10.2.1 ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิต (PRE-PRODUCTION)
- กำหนดประเด็นของปัญหา ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม เพื่อ
ตั้งสมมติฐาน
- จัดทำแบบร่าง (IDEA SKETCH) และทำการสรุปแบบตามสมมติฐาน
(CONCEPT SKETCH)
10.2.2 ขั้นตอนการผลิต (PRODUCTION)
- แสดงกระบวนการผลิตต้นแบบเหมือนจริง
10.2.3 ขั้นตอนหลังการผลิต ( POST PRODUCTION)
-ประเมินผลด้วยเครื่องมือที่สร้างไว้โดยมีความสัมพันธ์กับลักษณะของ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลการวิจัยในรูปแบบความเรียง
10.3 เครื่องมือในการวิเคราะห์มูล
- แบบสอบถามความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์
- แบบสัมภาษณ์
10.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
 - วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ( X ) จากร้อยละ



11. แผนการดำเนินงานตลอดโครงการ
กิจกรรม
พ.ย.55ธ.ค. 55ม.ค. 56ก.พ. 56
หมายเหตุ
1.การวางแผนก่อนการผลิต
- ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
- แบบร่าง
- สรุปแบบ




2.กระบวนการผลิต
- สรุปแบบ






3.กระบวนการหลังการผลิต
- ทดสอบสมมติฐาน
- วิเคราะห์ข้อมูล
- แปรผล
- เรียบเรียงรายงานการวิจัย





12. รายละเอียดงบประมาณ
   12.1 ค่าใช้สอย

ลำดับ

รายการ
ราคาต่อ
หน่วย
จำนวนรวมเงินหมายเหตุ
1.ค่าจ้างพิมพ์10 บาท200 แผ่น2,000 บาท
2.ค่าจ้างปริ้นสี5 บาท200 แผ่น1,000 บาท

รวมเป็นเงิน
(…สามพันบาทถ้วน...)


3,000 บาท
12.2 ค่าวัสดุ (ค่าวัสดุที่ผลิตผลงานต้นแบบเหมือนจริง)
ลำดับ

รายการ
ราคาต่อ
หน่วย
จำนวนรวมเงินหมายเหตุ
1.
งานออกแบบเก้าอี้เด็ก : ชุดจิตนาการ
การออกแบบ มี
- ไม้เนื้อแข็ง
- สีทาบ้าน
- เลกเกอร์เคลือบเงา (แบบใส)
- แปลงทาสี


550 บาท
100 บาท
45 บาท
50 บาท


2 แผ่น
8 กระปุก
1 กระป๋อง
1ด้าม


1100 บาท
800 บาท
50 บาท
50 บาท


รวมเป็นเงิน
(...สองพันบาทถ้วน...)


2000 บาท

รวมงบประมาณทั้งสิ้นเป็นเงิน... 5000… บาท
(...ห้าพันบาทถ้วน...)
หมายเหตุ : ถัวเฉลี่ยทุกรายการ

ลงชื่อ.....................................................
        (.....................................................)
 นาย วิเชษฐ์ ของครบ )
ผู้ขอทุนวิจัย
......../........./..........



ประวัติผู้วิจัย



ชื่อ-สกุล นายวิเชษฐ์ ของครบ
MR. VICHAT KHONGKROB
รหัสประจำตัว
ที่อยู่ปัจจุบัน
11-12 หัวแฟตล5 เขตคลองเตย แขวงคลองเตย ถ.อาจณรงค์ 10110
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 081-484-9383
หมายเลขโทรศัพท์ที่พักอาศัย -
E-Mail:binzhonda@hotmail.com , wichej89@gmail.com

ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษา โรงเรียนศูนย์รวมน้ำใจ
- มัธยมศึกษา โรงเรียนวัดธาตุทอง
- ป ว ช ศึกษา ไทยวิจิตรศิลป
- กำลังศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบประยุกต์ศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



…………………………………
( นาย วิเชษฐ์ ของครบ )
ผู้วิจัย
วันที่......./เดือน..../พ.ศ.........

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น