ในการผลิตชิ้นส่วนทางวิศวกรรมและผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีใหม่ๆในยุคปัจจุบัน
อาจจำเป็นต้องใช้วัสดุที่มีสมบัติพิเศษหลายอย่างรวมอยู่ด้วยกันซึ่งไม่
สามารถหาได้ในวัสดุทั่วไปที่เป็นเนื้อเดียวไม่ว่าจะเป็น เซรามิกส์ โลหะ
หรือพอลิเมอร์ สมบัติพิเศษเหล่านี้เช่นวัสดุที่มีความแข็งตึงสูง (high
stiffness)แต่ว่ามีความหนาแน่นต่ำซึ่งเป็นความต้องการของการออกแบบ (Design
requirements)
ของชิ้นส่วนทางวิศวกรรมอากาศยานโดยที่วัสดุทั่วไปอาจไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของการออกแบบได้เพราะฉะนั้นวัสดุผสม(Hybrids)
จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกที่ดีสำหรับความต้องการของการออกแบบที่ต้องการสมบัติ
หลายอย่างรวมกัน (Multiple constraints)
วัสดุผสมเป็นการนำวัสดุต่างประเภทที่มีสมบัติต่างกันมาผสมกันเพื่อให้ได้
สมบัติตามที่ต้องการและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของการออกแบบได้
วัสดุผสมจัดได้ว่าเป็นวัสดุที่ถูกจงใจสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการตอบ
สนองความต้องการของการออกแบบที่ต้องการวัสดุที่ทำหน้าที่หลายอย่างในเวลา
เดียวกัน
ชนิดของวัสดุผสมที่ได้มีการใช้งานอย่างกว้างขวางในปัจจุบันคือวัสดุเชิง
ประกอบ (Composite materials) ซึ่งเป็นวัสดุที่ประกอบด้วยเฟสสองชนิดคือ เฟสเนื้อพื้น (Matrix) ซึ่งเป็นเฟสที่ต่อเนื่อและล้อมรอบอีกเฟสหนึ่งไว้ ส่วนอีกเฟสหนึ่งคือ
เฟสที่กระจาย (Dispersed phase) หรือ ตัวเสริมแรง (Reinforcement) สมบัติ
ของวัสดุเชิงประกอบที่ได้จากการผสมเฟสเนื้อพื้นและเฟสที่กระจายจะเป็น
ฟังก์ชันของสมบัติของทั้งเฟสเนื้อพื้นและเฟสที่กระจาย
และขึ้นอยู่กับปริมาณของแต่ละเฟสและรูปทรงทางเลขาคณิตของเฟสที่กระจายซึ่ง
รวมถึงรูปทรง ขนาด การกระจายตัวและการเรียงตัวของเฟสที่กระจาย
อนุภาคของเฟสที่กระจายในเนื้อวัสดุในรูปทรงและการวางเรียงต่างกัน a) ความเข้มข้น b) ขนาด c) รูปร่าง d) การกระจายตัว e) ทิศทางการเรียงตัว ซึ่งมีผลต่อสมบัติของวัสดุเชิงประกอบ |
การเลือกใช้วัสดุผสมต้องเริ่มจากการวิเคราะห์ความต้องการของการออกแบบรวมถึง
ข้อจำกัด (Constraints) ต่างๆไม่ว่าจะเป็นข้อจำกัดด้านสมบัติ (Properties)
หรือว่าข้อจำกัดในด้านหน้าที่ (Functions)
และหากผลจากการวิเคราะห์และการคัดเลือกวัสดุเบื้องต้นปรากฏว่ามีวัสดุชนิด
ใดๆก็ตามที่สามารถตอบสนองข้อจำกัดทั้งหมดได้วัสดุชนิดนั้นจะถูกเลือกใช้
แต่หากว่าไม่มีวัสดุชนิดใดชนิดหนึ่งที่สามารถตอบสนองความต้องการและข้อจำกัด
ของการออกแบบดังนั้นจำเป็นต้องแยกวิเคราะห์หน้าที่และสมบัติแต่ละประการของ
ชิ้นงานที่นำมาทำการคัดเลือกวัสดุและคัดเลือกวัสดุที่ดีที่สุดสำหรับแต่ละ
หน้าที่
หลังจากนั้นนำแต่ละตัวเลือกสำหรับแต่ละหน้าที่มาพิจารณาว่าจะสามารถนำมารวม
กันเป็นวัสดุผสมได้หรือไม่
เมื่อได้ทำการพิจารณาสมบัติของวัสดุสองชนิดที่มีสมบัติเหมาะสมและสามารถตอบ
สนองต่อข้อจำกัดจากการออกแบบแล้วโดยเลือกวัสดุชนิดหนึ่งให้เป็นวัสดุเนื้อ
พื้นและวัสดุอีกชนิดเป็นเฟสกระที่กระจายโดยทำการเลือกโครงสร้างของวัสดุผสม
ที่เหมาะสมกับหน้าที่ของชิ้นงานนั้นๆ จากนั้นทำการเลือกสัดส่วนปริมาตร
(Volume fraction)
ที่เหมาะสมเพื่อให้ได้สมบัติที่ต้องการซึ่งต้องอยู่ถายในขอบเขตบนและขอบเขต
ล่างของสมบัติของวัสดุผสม (Upper and lower bounds)
และต้องพิจารณาและวิเคราะห์ถึง Criterion of excellence
ซึ่งเป็นไปตามดัชนีวัสดุ (Material
index)แล้วพลอตเส้นต่างๆเหล่านี้ในชาร์ตการเลือกวัสดุ (Material selection
chart) และหากวัสดุผสมมีค่าต่างๆเหล่านี้สูงกว่าวัสดุเนื้อเดียวและสูงกว่า
Criterion of excellence
วัสดุผสมชนิดนี้สามารถใช้เป็นวัสดุในการผลิตชิ้นงานนี้ได้
เมื่อมีการนำวัสดุสองชนิดที่มีสมบัติต่างกันมารวมกันเพื่อสร้างวัสดุผสมหรือ
วัสดุเชิงประกอบนั้นสมบัติของวัสดุผสมนั้นๆจะเป็นพังก์ชันของสมบัติของวัสดุ
ตั้งต้นทั้งสองชนิดโดยที่สมบัติของวัสดุที่ได้นั้นสามารถเป็นได้ได้ 4
กรณีดังนี้
กรณี A ถือ
ได้ว่าเป็นกรณีที่รวมข้อดีของสมบัติของวัสดุตั้งต้นทั้งสองชนิดซึ่งกรณีนี้
เป็นกรณีอุดมคติ
โดยทั่วไปวัสดุผสมจะมีสมบัติที่เป็นไปตามกรณีนี้เมื่อมีการนำสมบัติทั่วไป
ของวัสดุชนิดหนึ่งมารวมกับสมบัติของพิ้นผิวที่ดีของวัสดุอีกชนิดหนึ่งเช่น
การการชุบเหล็กกล้าด้วยสังกะสี (Galvanised steel)
เป็นการรวมสมบัติทางกลที่ดีของเหล็กกล้าผสมกับสมบัติของผิวที่ดีของสังกะสี
โดยเฉพาะความต้านทานการกัดกร่อน
กรณี B เป็น
กรณีที่สมบัติของวัสดุผสมเป็นไปตามกฎการผสม (Rule of mixture)
โดยที่สมบัติของวัสดุผสมเป็นผลลัพธ์ของสมบัติของวัสดุเริ่มต้นทั้งสองชนิด
ที่รวมกันและเฉลี่ยกันทางพีชคณิตโดยมีการถ่วงน้ำหนักในอัตราส่วนของปริมาตร
(Volume fraction)
กรณี C เป็น
กรณีที่สมบัติของวัสดุที่ได้เป็นค่าเฉลี่ยแบบฮาร์โมนิก (Harmonic mean)
ของวัสดุตั้งต้นแต่ว่ายังมีสมบัติที่รวมกันแล้วดีกว่าวัสดุตั้งต้นชนิดใด
ชนิดหนึ่งเดี่ยวๆซึ่งในบางกรณีวัสดุผสมนี้สามารถนำมาใช้งานได้เหมือนกัน
กรณี D เรียก
ว่า "the worst of both"
เป็นกรณีที่วัสดุรวมเอาสมบัติที่ไม่ดีของวัสดุที่เริ่มต้นทั้งสองชนิดไว้
ด้วยกันซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้เช่นระบบน้ำดับเพลิงตามอาคารที่เป็น
วัสดุผสมของโลหะและขี้ผึ้งโดยที่ชิ้นส่วนโลหะถูกออกแบบให้เกิดการวิบัติ
เมื่อขี้ผึ้งละลายไปเมื่ออุณหภูมิภายนอกสูงกว่าจุดหลอมเหลวของขี้ผึ้งและ
เมื่อชิ้นส่วนโลหะหักออกน้ำจะถูกปล่อยออกมาเพื่อดับเพลิง
Retro
เป็นรูปแบบทางวัฒนธรรมที่ล้าสมัยหรือผู้สูงอายุแนวโน้มโหมด
หรือแฟชั่นจากที่ผ่านมาหลังสมัยใหม่โดยรวมที่มีตั้งแต่เวลานั้นกลายเป็น
หน้าที่หรือเผินบรรทัดฐานอีกครั้งการใช้ "เรโทร"
ยึดถือรูปแบบและภาพแทรกเข้าไปในศิลปะหลังสมัยใหม่, การโฆษณา, สื่อมวลชน ฯลฯ
มันมักจะหมายถึงเหล้าองุ่นอย่างน้อย 15 หรือ 20
ปี ตัวอย่างเช่นเสื้อผ้าจากปี 1980 หรือปี 1990 อาจจะย้อนยุค
แหล่งกำเนิด
คำว่า "ย้อนยุค" มาจากภาษาละตินคำนำหน้าย้อนยุค , ความหมาย "ถอยหลัง" หรือ "ในครั้งที่ผ่านมา" - โดยเฉพาะอย่างยิ่งเท่าที่เห็นในคำถอยหลังเข้าคลองหมายความเคลื่อนไหวไปผ่านมาแทนความคืบหน้าไปในอนาคตและมีผลย้อนหลังหมายถึงคิดถึงตา (หรือที่สำคัญ) ไปยังอดีตที่ผ่านมา
ในสมัยหลังสงครามมันเพิ่มขึ้นในการใช้งานด้วยการปรากฏตัวของคำretrorocket (สั้น
สำหรับ "จรวดถอยหลังเข้าคลอง"
แทงสร้างจรวดในทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่โคจรของยานอวกาศ)
โดยใช้โครงการอวกาศอเมริกันในทศวรรษที่ 1960 ในฝรั่งเศสคำRetro , ตัวย่อสำหรับrétrospectif [ 1 ]รับเงินทางวัฒนธรรมกับ reevaluations จากชาร์ลส์เดอโกลและบทบาทของฝรั่งเศสในสงครามโลกครั้งที่สอง . ฝรั่งเศสRetro โหมดของปี 1970 reappraised ในภาพยนตร์และนิยายพฤติกรรมของพลเรือนฝรั่งเศสในช่วงการยึดครองของนาซี ระยะRetroถูกนำมาใช้โดยเร็วเพื่อแฟชั่นฝรั่งเศสที่คิดถึงนึกถึงช่วงเวลาเดียวกัน[ 2 ]
หลังจากนั้นไม่นานมันเป็นที่รู้จักเป็นภาษาอังกฤษโดยกดแฟชั่นและวัฒนธรรมที่
มันแสดงให้เห็นการคืนชีพเหยียดหยามค่อนข้างของแฟชั่นเก่า
แต่ล่าสุดค่อนข้าง (ลิซาเบ ธ อี Guffey, Retro: วัฒนธรรมของการฟื้นฟู , pp 9-22) ในSimulacra และการจำลองทฤษฎีฝรั่งเศสฌอง Baudrillardอธิบาย "เรโทร" เป็น demythologization ของอดีต, ปัจจุบันปลีกตัวจากความคิดที่ยิ่งใหญ่ที่ขับรถอายุ "สมัยใหม่"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น